ภาษาที่พูดในประเทศไทย แยกตามตระกูลภาษา ของ ภาษาในประเทศไทย

  1. ตระกูลภาษาขร้า-ไท : 90 % หรือ 55,000,000 คน
  2. ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก : 3% หรือ 2,000,000 คน
  3. ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน : 2% หรือ 1,009,500 คน
  4. ภาษาตระกูลทิเบต-พม่า : 1% หรือ 533,500 คน
  5. ภาษาม้ง-เมี่ยน : 0.2% หรือ 100,000 คน

ภาษาจาก 5 ตระกูลภาษาที่ได้รับการยอมรับจากรัฐบาลไทย

ขร้า-ไทออสโตรเอเชียติกจีน-ทิเบตออสโตรนีเชียนม้ง-เมี่ยน
กะเลิงกะซองกฺ๋องมลายูปัตตานีม้ง
ไทยถิ่นเหนือกูยกะเหรี่ยงมอแกน/มอแกลนเมี่ยน
ไทดำขมุกะชีนอูรักลาโว้ย
ญ้อเขมรถิ่นไทยจีน
เขินชองจีนฮ่อ
ไทยมาตรฐานสะโอจบีซู
ไทยโคราชมานิพม่า
ตากใบซำเรล่าหู่
ไทเลยโซ่ (ทะวืง)ลีซอ
ไทลื้อโส้อ่าข่า
ไทหย่าญัฮกุรอึมปี้
ไทใหญ่เยอ
ไทยถิ่นใต้บรู
ผู้ไทปลัง
พวนปะหล่อง
ยองมอญ
โย้ยมัลร-ปรัย
ลาวครั่งมลาบรี
ลาวแง้วละเม็ต
ลาวตี้ละว้า
ลาวเวียงว้า
ลาวหล่มเวียดนาม
ไทยถิ่นอีสาน
แสก